Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
What is TPM
/ TPM 8 Pillars
แปดเสาหลักของ TPM
1. การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Individual Improvement)
2. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
3. การบำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance)
4. การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทำงานและการบำรุงรักษา (Operation and Maintenance Development)
5. การคำนึงถึงการบำรุงรักษาตั้งแต่ขั้นการออกแบบ (Initial Phase Management)
6. ระบบการบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
7. ระบบการทำงานของฝ่ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิตหรือเรียกว่า TPM ในสำนักงาน (TPM in Office)
8. ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมภายในโรงงาน (Safety, Hygiene and Working Environment)
ในเสาหลักที่ 1, 2 และ 3 เป็นเสาหลักที่ต้องดำเนินการให้เกิด TPM ในส่วนผลิต โดยก่อนเริ่มดำเนินการและขณะดำเนินการต้องมีการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะอยู่ตลอดเวลา ซึ่งถือเป็นหน้าที่ในเสาหลักที่ 4 ส่วนเสาหลักที่ 5 ถือเป็นขั้นสูงของ TPM ในส่วนผลิต เนื่องจากเป็นการปลูกฝังการบำรุงรักษาให้ติดไปกับตัวเครื่องจักรอุปกรณ์ วัตถุดิบ กรรมวิธีการผลิต วิธีการทำงาน รวมถึงการออกแบบและวางผังโรงงานหรือกระบวนการ สำหรับในเสาหลักที่ 6, 7 และ 8 เป็นเสาหลักที่ดำเนินการเพื่อขยาย TPM จากส่วนผลิตไปสู่ TPM ทั่วทั้งองค์การ
บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
แม้ว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ของ TPM จะต้องปฏิบัติโดยฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบำรุง แต่ก็เป็นความคิดที่ผิดถ้าจะให้ทั้งสองฝ่ายดังกล่าวทำกิจกรรมทั้งหมด เสาหลักของ TPM ควรจะมีการดำเนินการในลักษณะของกิจกรรมกลุ่มย่อยที่มีสมาชิกมาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตามลักษณะของเสาหลักนั้นๆ
1.
การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Individual Improvement)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
ผู้จัดการและหัวหน้างานในสายการผลิต
- ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตให้อยู่ระดับสูงสุดอยู่เสมอ
- เครื่องจักรเสียเป็นศูนย์และของเสียเป็นศูนย์
- กำจัดความสูญเสีย
- คำนวณค่า OEE ของแต่ละสายการผลิตหรือของแต่ละผลิตภัณฑ์พร้อมทั้งทำการตั้งเป้าหมาย
- วิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้ OEE ต่ำ
- ทำการวิเคราะห์ด้วยหลัก P-M เพื่อกำจัดความเสียหายแบบเรื้อรัง
- เฝ้าติดตามว่า แต่ละช่วงเวลาเครื่องจักรควรจะได้รับการ ปรับปรุงอย่างไร
2.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
ผู้ใช้เครื่องและหัวหน้างานในสายการผลิต
- ผู้ใช้เครื่องมีความรู้และความเข้าใจในกลไกของเครื่อง
- ผู้ใช้เครื่องสามารถบำรุงรักษาเครื่องจักรได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติตาม 7 ขั้นตอนของการบำรุงรักษาด้วย
ตนเอง
1. การทำความสะอาดแบบตรวจสอบ
2. กำจัดจุดยากลำบากและแหล่งกำเนิดปัญหา
3. การเตรียมมาตรฐานการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
4. การตรวจสอบโดยรวม
5. การตรวจสอบด้วยตนเอง
6. การจัดทำเป็นมาตรฐาน
7. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
3.
การบำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
ผู้จัดการและหัวหน้างานในฝ่ายซ่อมบำรุง
- เพิ่มประสิทธิภาพของงานซ่อมบำรุง เพื่อไม่ให้เกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิต
- จัดทำแผนการบำรุงรักษาประจำวัน
- จัดทำแผนการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
- จัดทำแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
- ยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร
- ควบคุมการเปลี่ยนชิ้นส่วนตามคาบเวลาที่กำหนด
- วิเคราะห์ความเสียหายที่เกิดขึ้นและหาทางป้องกัน
- ควบคุมการหล่อลื่น
4.
การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทำงานและการบำรุงรักษา (Operation and Maintenance Development)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
ผู้ใช้เครื่องและพนักงานซ่อมบำรุง
- ยกระดับความสามารถในทางเทคนิคของทั้งผู้ใช้เครื่องและช่างซ่อมบำรุง
ฝึกอบรมในหัวข้อต่อไปนี้
- การบำรุงรักษาเบื้องต้น
- การขันแน่นและการปรับแต่ง
- การใช้งานของเครื่อง
- การบำรุงรักษาแบริ่ง
- การบำรุงรักษาระบบส่งกำลัง
- การบำรุงรักษาระบบไฮดรอลิกส์และระบบนิวเมติกซ์
- การบำรุงรักษาระบบควบคุมด้วยไฟฟ้า
5.
การคำนึงถึงการบำรุงรักษาตั้งแต่ขั้นการออกแบบ (Initial Phase Management)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
- ผู้จัดการฝ่ายวิจัยและพัฒนา
- วิศวกรการผลิต
- วิศวกรซ่อมบำรุง
- พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ดีขึ้น
- ออกแบบอุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือให้ใช้งานได้เร็วขึ้น
- ผลิตภัณฑ์ใหม่และเครื่องจักรใหม่ต้องบำรุงรักษาได้ง่าย
- ตั้งเป้าหมายของการออกแบบและพัฒนา
- ออกแบบโดยการคำนึงถึงเครื่องจักรที่ต้อง
ทำการผลิตได้ง่าย
คุณภาพคงที่
ใช้ง่าย
บำรุงรักษาได้ง่าย
มีความน่าเชื่อถือ
- ศึกษาค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของเครื่อง
- ทบทวนแบบของผลิตภัณฑ์และเครื่องจักรอยู่เสมอ
6.
ระบบการบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
- ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพ
- วิศวกรการผลิต
- หัวหน้าสายการผลิต
- เครื่องจักรต้องไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้เกิดของเสีย หรือ "การผลิตของเสียเป็นศูนย์"
- ทบทวนมาตรฐานคุณภาพและข้อกำหนดทางเทคนิคที่ทำไว้กับลูกค้า
- ประกันคุณภาพทุกขั้นตอนไม่ว่าจะเป็นกระบวนการ วัตถุดิบ พลังงาน อุปกรณ์ หรือวิธีการ
- หาสาเหตุที่ทำให้คุณภาพเกิดความผิดปกติ
- จัดทำมาตรฐานการตรวจสอบในจุดต่างๆ ของเครื่องที่มีผลต่อคุณภาพ
7.
ระบบการทำงานของฝ่ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิต หรือเรียกว่า TPM ในสำนักงาน (TPM in Office)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
- ผู้จัดการและพนักงานในฝ่ายขายและฝ่ายบริหาร
- กำจัดความสูญเสียที่เกิดจากการประสานงานระหว่างฝ่าย
- จัดทำงานบริการด้านธุรการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
- สนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้กับฝ่ายผลิต
การบำรุงรักษาด้วยตนเองในสำนักงาน
1. ทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน
2. พัฒนากระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
3. จัดทำเป็นมาตรฐาน
4. ปรับทัศนคติว่า "ต้องทำทุกอย่างที่ฝ่ายผลิตต้องการ"
การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง
1. ลดเวลางานด้านบัญชี
2. ปรับปรุงระบบการจัดส่ง
3. ปรับปรุงระบบจัดซื้อและจัดจ้าง
8.
ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมภายในโรงงาน (Safety, Hygiene and Working Environment)
(more...)
ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
บทบาทและหน้าที่
- คณะกรรมการมาตรฐานแรงงานของโรงงาน
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
- อุบัติเหตุเป็นศูนย์
- พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานและความปลอดภัยในโรงงาน
- เก็บข้อมูลและจัดทำสถิติการเกิดอุบัติเหตุ
- วิเคราะห์การปฏิบัติงานเพื่อหาขั้นตอนที่อาจเกิดอันตราย
- ขจัดมลภาวะในสถานที่ทำงาน
- วัดอัตราการอนุรักษ์พลังงาน
- ส่งเสริมให้พนักงานมีสุขภาพที่ดีด้วยกิจกรรมต่างๆ
- สร้างบรรยากาศที่น่าทำงาน
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.