Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
/ การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง
Pillar 1 - การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Individual Improvement)
การปรับปรุงเฉพาะเรื่องเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตซึ่งเป็น 1 ใน 8 เสาหลักนั้น เป็นความรับผิดชอบโดยตรงของฝ่ายการผลิตโดยมีฝ่ายอื่นคอยให้การสนับสนุนควบคู่ไปกับกิจกรรมบำรุงรักษาด้วยตนเองของพนักงานผู้ใช้เครื่อง ทั้งนี้เป็นการปรับปรุงเฉพาะเครื่องจักรต้นแบบก่อน จากนั้นจึงขยายการปรับปรุง เครื่องจักรไปยังเครื่องจักรอื่นๆ ทั่วทั้งโรงงาน
การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง ก็คือ การปรับปรุงเพื่อลด Loss แต่ละประเภทไปทีละเรื่องโดยเริ่มจาก Loss ที่มีผลต่อค่า OEE มากที่สุด ซึ่งจะทำให้เห็นผลการเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนที่สุด
การปรับปรุงเฉพาะเรื่องสามารถวัดผลได้โดยการดูจากค่า OEE หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง การปรับปรุงเฉพาะเรื่องก็คือการปรับปรุงค่า OEE ของทีมเฉพาะกิจร่วมกับผู้ใช้เครื่องจักรนั่นเอง
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
การปรับปรุงประสิทธิภาพ หมายถึง การทำให้ระบบการผลิตมีผลลัพธ์ออกมาให้ได้มากที่สุด ในขณะที่ใช้ทรัพยากรน้อยลงหรือเรียกอีกอย่างว่า การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด หรือเพื่อเป็นการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตนั่นเอง โดยแบ่งออกเป็น
การใช้ประโยชน์สูงสุดจากเครื่องจักร หรือการปรับปรุงอัตราการเดินเครื่อง
การใช้ประโยชน์สูงสุดจากวิธีการทำงาน หรือการปรับปรุงประสิทธิภาพการเดินเครื่อง
การใช้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้วัตถุดิบ หรือการปรับปรุงอัตราคุณภาพ
การปรับปรุงอัตราการเดินเครื่อง ก็คือ การปรับปรุงเพื่อลด Loss ในกลุ่มที่ทำให้เครื่องจักรหยุด การปรับปรุงประสิทธิภาพการเดินเครื่อง ก็คือ การปรับปรุงเพื่อลดความสูญเสียกลุ่มที่ทำให้เครื่องจักรเสียกำลัง และการปรับปรุงอัตราคุณภาพ ก็คือ การปรับปรุงเพื่อลดความสูญเสียกลุ่มที่ทำให้เกิดของเสีย
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเป็นหน้าที่หลักของฝ่ายวิศวกรรมการผลิต ผู้ใช้เครื่องและฝ่ายซ่อมบำรุง โดยแบ่งเป็นกิจกรรมการปรับปรุงเฉพาะเรื่อง การบำรุงรักษาด้วยตนเองและการบำรุงตามแผนตามลำดับ ซึ่งความสัมพันธ์ของกิจกรรมทั้งสามแสดงไว้ในภาพ
จากภาพ จะเห็นได้ว่า หน้าที่ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของกิจกรรมทั้งสามมีทั้งที่แยกจากกัน และทั้งที่ต้องทำร่วมกันตามพื้นที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้
พื้นที่หมายเลข 1 คือ
การปรับปรุงในส่วนที่เป็นการปรับปรุงเฉพาะเรื่องเพียงอย่างเดียว
พื้นที่หมายเลข 2 คือ
การปรับปรุงในส่วนที่เป็นการบำรุงรักษาด้วยตนเองเพียงอย่างเดียว
พื้นที่หมายเลข 3 คือ
การปรับปรุงในส่วนที่เป็นการบำรุงรักษาตามแผนเพียงอย่างเดียว
พื้นที่หมายเลข 4 คือ
การปรับปรุงที่ต้องทำร่วมกันในส่วนที่เป็นการปรับปรุงเฉพาะเรื่องและการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
พื้นที่หมายเลข 5 คือ
การปรับปรุงที่ต้องทำร่วมกันในส่วนที่เป็นการบำรุงรักษาด้วยตนเองและการบำรุงรักษาตามแผน
พื้นที่หมายเลข 6 คือ
การปรับปรุงที่ต้องทำร่วมกันในส่วนที่เป็นการปรับปรุงเฉพาะเรื่องและการบำรุงรักษาตามแผน
พื้นที่หมายเลข 7 คือ
การปรับปรุงที่ต้องทำร่วมกันทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงเฉพาะเรื่อง การบำรุงรักษาด้วยตนเอง และการบำรุงรักษาตามแผน
พื้นที่หมายเลข 8 คือ
การปรับปรุงในส่วนอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทั้งการปรับปรุงเฉพาะเรื่อง การบำรักษาด้วยตนเอง และการบำรุงรักษาตามแผน เช่น กิจกรรมของฝ่ายบริหาร ฝ่ายขาย เป็นต้น
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.