Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
What is TPM
/ Definition
ความหมายของ TPM
TPM
ย่อมาจาก
Total Productive Maintenance
หมายถึง การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
ในปี 1971 สถาบันแห่งการบำรุงรักษาโรงงานของประเทศญี่ปุ่น (
Japan Institute of Plant Maintenance
) ได้ให้ความหมายของ TPM ไว้ดังนี้
ความหมายของ TPM ในส่วนการผลิต
TPM คืออะไร?
TPM คือ ระบบการบำรุงรักษาที่จะทำให้เครื่องจักรอุปกรณ์เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (
Overall Efficiency
)
TPM คือ การประยุกต์ใช้ PM เพื่อให้สามารถใช้เครื่องจักรได้ตลอดอายุการใช้งาน
TPM คือ ระบบการบำรุงรักษาของทุกคนที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับเครื่องจักรอุปกรณ์ ได้แก่ ผู้วางแผนการผลิต ผู้ใช้เครื่อง และฝ่ายซ่อมบำรุง
TPM คือ ระบบการบำรุงรักษาที่อยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึงผู้ใช้เครื่อง
TPM คือ การทำให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำ PM ในลักษณะเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม
ณ เวลานั้น TPM ยังเป็นการพัฒนาขึ้นมาเพื่อส่วนการผลิต ดังนั้นความหมายของ TPM ในที่นี้จึงเป็นของ TPM ในส่วนผลิต (Production Sector TPM)
อย่างไรก็ตามการพัฒนาของ TPM ได้มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้ทราบว่า ถึงแม้ว่าจะทำให้การผลิตมีประสิทธิภาพสูงสุด ก็ยังไม่ใช่ประสิทธิภาพสูงสุดของบริษัท ดังนั้น การพยายามเพิ่มประสิทธิภาพตามแนวทางของ TPM ในส่วนผลิตอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องให้ทุกฝ่ายนอกเหนือจากส่วนผลิต เช่น ฝ่ายขาย ฝ่ายบริหาร เข้ามาร่วมด้วย ทำให้ความหมายของ TPM เปลี่ยนเป็นความหมาย TPM ทั่วทั้งบริษัท (Company-wide TPM)
ความหมายของ TPM ทั่วทั้งองค์การ
TPM คืออะไร?
TPM คือ ระบบการบำรุงรักษาที่ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือของทุกฝ่าย โดยมีความมุ่งมั่นว่าประสิทธิภาพโดยรวมของระบบการผลิตต้องสูงสุด
TPM คือ การทำให้เกิดระบบป้องกันเพื่อไม่ให้มี
ความสูญเสีย (Losses)
เกิดขึ้นกับเครื่องจักรและ ผลิตภัณฑ์ ซึ่งทั้งนี้ต้องทำให้เกิด "อุบัติเหตุเป็นศูนย์" "ของเสียเป็นศูนย์" และ "เครื่องเสียเป็นศูนย์"
TPM คือ การให้ฝ่ายผลิต ฝ่ายพัฒนา ฝ่ายบริหาร ฝ่ายขาย มาร่วมกันในการพัฒนาประสิทธิภาพโดยรวมของระบบการผลิต
TPM คือ ระบบการบำรุงรักษาที่อยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึง ผู้ใช้เครื่อง
TPM คือ การทำให้ความสูญเสียเป็นศูนย์โดยผ่านกิจกรรมกลุ่มย่อยที่ทุกกลุ่มมีภาระงานที่
คาบเกี่ยวกัน (Overlapping)
JIT และ TPM
JIT ย่อมาจากคำว่า
"Just-in-Time"
หมายถึง ทันเวลาพอดี ซึ่งเป็นปรัชญาการบริหารการผลิตที่พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท โตโยต้า ประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้ปราศจากความสูญเสียต่างๆ
(Wastes)
ที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอันเนื่องมาจากการผลิตในปริมาณที่ไม่พอดี เวลาที่ไม่พอดี ในขณะที่ TPM ทำเพื่อขจัดความสูญเสียจากการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ดังนี้
ประเด็น
JIT
TPM
การบริหารการผลิต
ใช้เทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการ
(Industrial Engineering: IE)
เป็นหลัก
ใช้การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การกำจัดความสูญเสีย
- กำจัดความสูญเสียจากปริมาณการผลิต
- กำจัดความสูญเสียจากการเก็บสต๊อก
- กำจัดความสูญเสียจากการขนส่ง
- กำจัดความสูญเสียจากการรอคอย
- กำจัดความสูญเสียจากงานค้างในกระบวนการ
- กำจัดความสูญเสียจากวิธีการทำงาน
- กำจัดความสูญเสียจากของเสีย
- กำจัดการขัดข้องของเครื่องจักร
- ลดเวลาปรับตั้งเครื่องจักร
- ลดเวลาการทดลองเดินเครื่อง
- กำจัดการเดินตัวเปล่าของเครื่องจักร
- รักษาความเร็วในการเดินเครื่อง
- กำจัดการผลิตของเสียของเครื่องจักร
การป้องกันความผิดพลาด
- ป้องกันความผิดพลาดอันเนื่องมาจากความไม่เอาใจใส่
- ป้องกันโดยใช้ระบบมากกว่าใช้วิธีปฏิบัติงาน
- ป้องกันการบำรุงรักษา (MP)
- การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (PM)
- การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (CM)
การควบคุมด้วย การมองเห็น
- ใช้ระบบป้ายสัญลักษณ์ (Kanban)
- ใช้ระบบไฟสัญญาณและป้ายในการ ควบคุม (Andon)
- ปุ่มปรับต่างๆ เห็นชัดเจนตัดสินใจได้ง่าย
- ใช้สี สัญลักษณ์ รูปภาพ และอื่นๆ เพื่อให้สังเกต
การทำงานของเครื่องจักรได้ง่าย
- บอร์ดแสดงกิจกรรม TPM
การมีส่วนร่วมและความคาดหวังในตัวพนักงาน
- ทำงานได้หลายอย่าง หลายหน้าที่
- เป็นส่วนหนึ่งของระบบการผลิต
- เน้นที่ชิ้นงานสำเร็จ
- ทำการบำรุงรักษาเครื่องจักรของตนเอง
- เน้นที่อุบัติเหตุเป็นศูนย์ เครื่องเสียเป็นศูนย์ และของเสียเป็นศูนย์
- ผูกพันกับเครื่องจักร
TQC และ TPM
TQC ย่อมาจากคำว่า "Total Quality Control" หมายถึง การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ ซึ่งเป็นปรัชญาการบริหารที่เน้นคุณภาพโดยผ่านกิจกรรมกลุ่มย่อยที่รู้จักกันดีในนาม QCC (Quality Control Circle) ในภาพที่ 4.5 เป็นการเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของ TQC และ TPM
ประเด็น
TQC
TPM
จุดประสงค์
ปรับปรุงสถานประกอบการในเชิงโครงสร้างทั่วทั้งองค์การ (เพื่อความสำเร็จทางธุรกิจ ภายใต้ความพึงพอใจของพนักงาน)
เหมือน TQC
วัตถุประสงค์ของการบริหาร
บริหารคุณภาพ (โดยเฉพาะคุณภาพในผลิตภัณฑ์)
บริหารเครื่องจักรอุปกรณ์ (โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต)
ความหมายของคำว่า "บรรลุเป้าหมาย"
มีระบบที่มั่นใจได้ว่า ผลิตภัณฑ์จะมี คุณภาพ (เน้นระบบมากกว่าเน้นอุปกรณ์) เป็นกลุ่มที่ได้รับการมอบหมาย ตามความเหมาะสมของเสียเป็นศูนย์ เครื่องเสียเป็นศูนย์ อุบัติเหตุเป็นศูนย์
มีสภาพเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มั่นใจได้ว่า อยู่ในสภาพที่ดีตลอดเวลา (เน้นอุปกรณ์มากกว่าระบบ)
กิจกรรมกลุ่มย่อย
เป็นกลุ่มอาสาสมัคร
เป็นกลุ่มที่ได้รับการมอบหมาย ตามความเหมาะสม
เป้าหมายสูงสุด
PPM (Part per million) ของเสียหนึ่งในล้าน
ของเสียเป็นศูนย์ เครื่องเสียเป็นศูนย์ อุบัติเหตุเป็นศูนย์
TPM อย่างแท้จริงไม่ใช่เครื่องมือในการบำรุงรักษา แต่ TPM เป็นปรัชญาในการบริหารการผลิตที่เน้นเครื่องจักรและอุปกรณ์เป็นสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องในแนวคิดและความสำคัญที่แท้จริงของ TPM เพื่อการเริ่มต้นไปสู่ความสำเร็จในการทำ TPM
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.