Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
/ TPM Consulting Package
TPM Consulting Package
ประกอบไปด้วย
การตรวจประเมินเบื้องต้น (TPM Assessment)
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ TPM สำหรับผู้บริหาร
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับฝ่ายผลิต (Autonomous Maintenance)
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับฝ่ายซ่อมบำรุง (Planned Maintenance)
การให้คำปรึกษาแนะนำ (Consulting Assistance Service)
ประโยชน์จากการดำเนินกิจกรรม TPM (Benefit of Implementing TPM)
การตรวจประเมินเบื้องต้น (TPM Assessment)
ความพร้อมเป็นองค์ประกอบสำคัญของ TPM ที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ องค์กรอยู่ท่ามกลางบุคคลากร การบริหาร สภาพแวดล้อม และกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องและเอื้ออำนวย การตรวจประเมินเบื้องต้นก่อนดำเนินกิจกรรม TPM จะประกอบไปด้วย การสัมภาษณ์แบบเป็นกลุ่มและเป็นรายบุคคล (Focus Group and Individual Interviews) การสังเกตการณ์ (Observation) และการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ (Performance analysis) ในหัวข้อต่อไปนี้
ประเมินภาพรวมของการจัดองค์กรในการดำเนินกิจกรรม TPM
ประเมินกระบวนการฝึกอบรมในการส่งผลต่อ TPM
ประเมินระดับการสนับสนุนกิจกรรม TPM ของผู้บริหารระดับสูง
ประเมินความเชื่อมโยงของหัวข้อการฝึกอบรมในอดีตกับ TPM
ประเมินการสื่อสารภายในองค์กร (ระหว่างหน่วยงานและภายในหน่วยงาน) ที่มีผลต่อ TPM
ประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน
ประเมินสัมพันธภาพ ในงาน (Working Relationship) ระหว่างฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบำรุง
ประเมินระดับการยอมรับต่อกิจกรรม TPM ของพนักงานรายวัน
จัดทำระบบการประเมินผลงานซ่อมบำรุงพื้นฐาน
วิเคราะห์จุดอ่อนที่ต้องการปรับปรุงเร่งด่วนในการบริหารงานบำรุงรักษา
วิเคราะห์จุดแข็งที่จะช่วยส่งเสริมกิจกรรม TPM
วิเคราะห์แนวโน้มปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อดำเนินการ TPM
จัดทำแผนดำเนินการ TPM ในอนาคต
จำนวนวันดำเนินการ
3 Man-days
ผลลัพธ์
รายงานตรวจประเมินและข้อเสนอแนะ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ TPM สำหรับผู้บริหาร
เป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารขององค์กรต้องตระหนัก ให้ความสำคัญและทำความเข้าใจกับ TPM เพื่อการปฏิบัติและสนับสนุนอย่างถูกต้อง โดยความรู้ดังกล่าวจะนำมาซึ่งการกำหนดนโยบาย (TPM Policy) การกำหนดผังการบริหารกิจกรรม (TPM organization) การกำหนดคณะกรรมการและคณะทำงาน (Committee and working team) และการกำหนดแผนการดำเนินการหลัก (TPM Master Plan) รายละเอียดในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัตการสำหรับผู้บริหารมีดังต่อไปนี้
อบรมแนวคิด ความสำคัญ และภาพรวมของการดำเนินการ TPM
จัดทำนโยบายและผังการบริหาร TPM
จัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงาน
กำหนดเป้าหมายและแผนดำเนินงานหลัก
จำนวนวันดำเนินการ
2 Man-days
ผลลัพธ์
นโยบายและผังการบริหารกิจกรรม TPM
แผนงานและบทบาทความรับผิดชอบ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับฝ่ายผลิต
(Autonomous Maintenance...)
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance) เป็นกิจกรรม เพื่อให้พนักงานผู้ใช้เครื่องสามารถดูแลเครื่องจักรของตนเองได้ อันเป็นเสาหลักของ TPM การบำรุงรักษาด้วยตนเองจะประกอบไปด้วย
การสร้างจิตสำนึกในความเป็นเจ้าของเครื่องจักรของพนักงาน
แนวคิด ความสำคัญ และภาพรวมของการดำเนินการ TPM
การทำความสะอาด การหล่อลื่น การปรับแต่ง การตรวจสอบ และการซ่อมแซมเบื้องต้น (CLAIR : Cleaning, Lubrication, Adjusting, Inspecting and Repair)
5ส และการประยุกต์ใช้
กิจกรรมกลุ่มย่อย เพื่อการปรับปรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ (Equipment improvement team)
การทำงานร่วมกับฝ่ายซ่อมบำรุงในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (Cross-functional team)
จำนวนวันดำเนินการ
3 Man-days
ผลลัพธ์
การสำรวจเชิงลึกในเครื่องจักรของตนเอง (Machine in-depth observation)
ความเข้าใจในโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องจักร
ความสามารถในการปกป้องและดูแลเครื่องจักรของตนเอง
ทักษะในการทำงานเป็นทีม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับฝ่ายซ่อมบำรุง
(Planned Maintenance...)
การบำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) เป็นกิจกรรมของฝ่ายซ่อมบำรุง เพื่อดำเนินการตามที่วางแผนไว้ ในส่วนที่นอกเหนือจากผู้ใช้เครื่องจักรจะดูแลได้ด้วยตนเอง อันจะประกอบไปด้วย
การหยุดความเสียหายของเครื่องจักรอุปกรณ์
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance : PM)
การบำรุงรักษาตามสภาพ (Condition-based Maintenance : CBM)
การป้องกันความเสียหายของเครื่องจักร
การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขป้องกัน (Corrective Maintenance : CM)
การป้องกันการบำรุงรักษา (Maintenance Prevention : MP)
การเตรียมพร้อมเมื่อเกิดการเสียหาย
การบำรุงรักษาเมื่อขัดข้อง (Breakdown Maintenance : BM)
การสนับสนุนและทำงานร่วมกับฝ่ายผลิต (Cross-functional improvement team)
จำนวนวันดำเนินการ
5 Man-days
ผลลัพธ์
แผนบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (PM Plan)
แผนการปรับปรุงเครื่องจักร (CM Plan)
แผนการซ่อมแซมเครื่องจักร (BM Plan)
หลักสูตรการหล่อลื่น การปรับแต่ง และการซ่อมแซมเบื้องต้น สำหรับผู้ใช้เครื่อง
แฟ้มประวัติเครื่องจักร (Machine portfolio)
การให้คำปรึกษาแนะนำ (Consulting Assistance Service)
เพื่อการดำเนินการตามการตรวจประเมินเบื้องต้น และตามความรู้ที่ได้จากการอบรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล จำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญทางด้าน TPM ในการให้คำปรึกษาแนะนำ (Coaching) และชี้นำ (Advice) ในการพัฒนาให้ TPM เกิดขึ้นในบริษัทอย่างยั่งยืน การให้คำปรึกษาแนะนำประกอบไปด้วย
ให้คำปรึกษาแนะนำทีมผู้บริหารในการร่างนโยบายและจัดตั้งคณะทำงาน รวมถึงการบริหารกิจกรรม
ให้คำปรึกษาแนะนำฝ่ายผลิตในการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
ให้คำปรึกษาแนะนำฝ่ายซ่อมบำรุงในการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาตามแผน
ประเมินสถานการณ์ในภาพรวมของการดำเนินการ TPM
จำนวนวันดำเนินการ
10 Man-days
ผลลัพธ์
รายงานการให้คำปรึกษาแนะนำ และรายงานความคืบหน้าตลอดโครงการ
รายงานสรุประหว่างโครงการ (Interim Report)
รายงานสรุปผลสิ้นสุดโครงการ (Final Report)
ประโยชน์จากการดำเนินกิจกรรม TPM (Benefit of Implementing TPM)
ประโยชน์ต่อบุคคลากร
มีความภาคภูมิใจในองค์กรและเครื่องจักรของตนเอง
ทำงานอย่างมืออาชีพ (Professional)
ได้รับการฝึกอบรมมากขึ้น อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนาตนเอง
ความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายซ่อมบำรุง
มีเครื่องจักรที่มีอัตราการใช้งานสูงขึ้น (Availability) และสามารถไว้วางใจได้ (Reliability)
สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัย
ทักษะในการทำงานเป็นทีม
ประโยชน์ต่องานบำรุงรักษา (Maintenance Function)
ฝ่ายซ่อมบำรุงจะเป็นหุ้นส่วนความสำเร็จของฝ่ายผลิต
มีเวลาว่างจากซ่อมแซมเครื่องจักรมาทำการปรับปรุงเครื่องจักร
มีทักษะและประสบการณ์ในเรื่องระบบกลไกของเครื่องจักรมากขึ้น
มีส่วนร่วมในการสร้างมูลค่าขององค์กรมากขึ้น เนื่องจากเครื่องจักรปราศจากการขัดข้อง
ได้รับการยอมรับในความสำคัญของงานซ่อมบำรุงมากขึ้น อันจะนำมาซึ่งขวัญและกำลังใจ
ประโยชน์ต่องค์กร
ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร (Operational effiency)
ลดต้นทุนการดำเนินงาน (Lower operating cost)
มีอายุการใช้งานเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ยาวขึ้น
ลดต้นทุนจากการคงคลังอะไหล่
ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของพนักงานและความปลอดภัย
เป็นพื้นฐานของการก้าวไปสู่ WCM,
TQM
,
JIT
,
Lean Production
บรรลุความพึงพอใจของลูกค้ามากขึ้น ในแง่ของคุณภาพและการตรงต่อเวลา
ปรับปรุงกำลังการผลิต (Capacity) ปรับปรุงการเพิ่มผลผลิต (Productivity) และในที่สุด นำมาซึ่งการปรับปรุงความสามารถในการทำกำไร (Profitability)
บริการให้คำปรึกษาแนะนำ
ติดต่อ
Administrator
หากต้องการให้ติดต่อกลับสามารถ
Click ที่นี่
เพื่อฝากเบอร์โทร / Fax หรือ e-mail
E-mail :
admin@tpmconsulting.org
Tel.
02-207-2698 / 089-762-4079
Fax.
02-939-3588