Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
Small Group Activity
กิจกรรมกลุ่มย่อยของกิจกรรม TPM (TPM Small-Group Activity)
ลักษณะที่สำคัญอย่างหนึ่งของกิจกรรม TPM คือ การทำกิจกรรมของพนักงานทุกฝ่ายในองค์การในลักษณะของกิจกรรมกลุ่มย่อยที่มีการคาบเกี่ยวกันในบทบาทและหน้าที่ของผู้นำกลุ่ม (Overlapping) ทั้งนี้ เพื่อให้การสื่อสารสองทางระหว่างระดับบริหารกับระดับปฏิบัติการ (Top-down and Bottom-up) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมกลุ่มย่อยในกิจกรรม TPM แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยระดับบริษัท กลุ่มย่อยระดับ โรงงาน กลุ่มย่อยระดับฝ่าย กลุ่มย่อยระดับแผนก และกลุ่มย่อยระดับปฏิบัติการ โดยกลุ่มย่อยแต่ละระดับมีหน้าที่แตกต่างกัน
กลุ่มย่อยในระดับปฏิบัติการ ก็คือ กลุ่มของผู้ใช้เครื่องจักรที่ทำกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยที่สำคัญที่สุดที่ต้องมีการชักจูงใจให้ปฏิบัติกิจกรรม TPM อย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป การจัดประกวดกิจกรรมกลุ่มบำรุงรักษาด้วยตนเองเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดแรงจูงใจได้
กิจกรรมกลุ่มย่อยแบบคาบเกี่ยว (Overlapping Small-Group Activity)
กิจกรรมกลุ่มย่อยแบบคาบเกี่ยวกัน หมายถึง กิจกรรมกลุ่มย่อยที่มีความคาบเกี่ยวกันในบทบาทและหน้าที่ของผู้ที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่ม กล่าวคือ ผู้ที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มย่อยในระดับล่างในขณะเดียวกันจะมีรายชื่อเป็นสมาชิกของกลุ่มย่อยที่อยู่ระดับสูงขึ้นไป ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการสื่อสาร 2 ทาง คือ ระดับบนลงล่างและระดับล่างขึ้นบน (Top-down and Bottom-up) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมกลุ่มย่อยในระดับต่างๆ ที่มีการคาบเกี่ยวกัน โดยกลุ่มย่อยระดับสูงสุด คือ กลุ่มระดับบริษัท โดยมีประธานบริษัทเป็นประธานหรือเป็นหัวหน้ากลุ่ม สมาชิกในกลุ่มก็คือผู้จัดการโรงงาน กลุ่มย่อยในระดับรองลงมาคือระดับโรงงาน โดยมีผู้จัดการโรงงานเป็นหัวหน้ากลุ่ม สมาชิกในกลุ่มก็คือผู้อำนวยการฝ่าย กลุ่มย่อยในระดับรองลงมาอีกก็คือระดับฝ่าย โดยมีผู้อำนวยการฝ่ายเป็นประธาน สมาชิกในกลุ่มก็คือหัวหน้าแผนก และจะมีกลุ่มย่อยถัดลงมาเรื่อยๆ จนถึงกิจกรรมกลุ่มบำรุงรักษาด้วยตนเองหรือเรียกกว่า กลุ่ม AM ซึ่งหัวหน้ากลุ่มทุกระดับจะมีความคาบเกี่ยวกันในบทบาทและหน้าที่ดังภาพ
กลุ่มย่อยระดับบริษัท
กลุ่มย่อยระดับโรงงาน
กลุ่มย่อยระดับฝ่าย
กลุ่มย่อยระดับแผนก
กลุ่มย่อยกลุ่ม AM
ประธานบริษัท
0
ผู้จัดการโรงงาน
0
0
ผู้อำนวยการฝ่าย
0
0
หัวหน้าแผนก
0
0
หัวหน้าสายการผลิต
0
0
ผู้ใช้เครื่องจักร
0
0
= หัวหน้ากลุ่ม
0
= สมาชิกกลุ่ม
บทบาทคาบเกี่ยวกันอยู่ของหัวหน้ากลุ่มย่อย
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.