Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
Big Losses
ความสูญเสียจากเครื่องจักร (Loss)
Loss คือ ตัวการที่ทำให้ OEE ต่ำ และการลด Loss เป็นวิธีเดียวเท่านั้นที่เพิ่ม OEE แต่ทั้งนี้เราต้องรู้จักแบ่งแยก Loss ออกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อให้สามารถนำไปคำนวณค่า OEE ได้ และเพื่อการปรับปรุงได้อย่างตรงจุดต่อไป
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องจักรหยุดทำงาน (Shutdown Loss)
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องเสียกำลัง (Capacity Loss)
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องผลิตงานเสียและซ่อมงาน (Yield Loss)
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องจักรหยุดทำงาน (Shutdown Loss)
คือ เหตุการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นแล้วเครื่องจักรต้องหยุดทำงาน เช่น สายพานขาด เปลี่ยนแม่พิมพ์ เกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น Loss ในกลุ่มนี้เมื่อเกิดขึ้น แล้วต้องใช้เวลานานในการแก้ไข และ Loss ในกลุ่มนี้ก็คือสาเหตุที่ทำให้อัตราการเดินเครื่องต่ำ
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องเสียกำลัง (Capacity Loss)
คือ เหตุการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นแล้วเครื่องจักรทำการผลิตได้ช้าลง แต่เครื่องไม่ได้เสียเช่นการหยุดเล็กน้อยเพื่อรอคอยพนักงาน รอคอยวัตถุดิบ
เครื่องสูญเสียความเร็ว หรือช่วงที่เริ่มเดินเครื่อง ซึ่งเครื่องยังไม่มีความเร็วเต็มที่เป็นต้น Loss ในกลุ่มนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้ประสิทธิภาพการเดินเครื่องต่ำ
Loss กลุ่มที่ทำให้เครื่องผลิตงานเสียและซ่อมงาน (Yield Loss)
คือ เหตุการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นแล้วทำให้เสียเวลาในการผลิต เนื่องจากเรื่องคุณภาพเป็นสาเหตุ ไม่ว่าชิ้นงานนั้นจะไม่สามารถใช้ได้ หรือสามารถใช้ได้แต่ต้องนำกลับไปแก้ไข ก็ให้นับว่าเป็น Loss และ Loss ในกลุ่มนี้ คือกลุ่มที่เกิดขึ้นแล้วทำให้อัตราคุณภาพต่ำลง
จากที่ผ่านมาท่านลองนึกถึงในโรงงานของท่านว่า มีเหตุการณ์อะไรบ้างที่ถือว่าเป็นความสูญเสีย เช่น ไฟดับ ของเสีย หม้อน้ำรั่ว ลูกปืนแตก แก้ไขงาน
ปรับตั้งเครื่อง ฯลฯ โดยให้ท่านใส่ลงในแบบฟอร์ม
เหตุการณ์ที่พบอยู่เป็นประจำ
ลักษณะของความเสียหาย
1……………………………………….
2……………………………………….
3……………………………………….
4……………………………………….
1……………………………………….
2……………………………………….
3……………………………………….
4……………………………………….
แบบฟอร์มการสำรวจ Loss ในโรงงาน
หลังจากนั้นท่านลองพยายามนึกถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่ท่านพบอยู่เป็นประจำนั้นเข้าข่าย Loss กลุ่มใดบ้าง ตามแบบฟอร์มในภาพ
เหตุการณ์ที่พบอยู่เป็นประจำ
ลักษณะของความเสียหาย
จัดอยู่ใน Loss กลุ่มที่
1
2
3
1……………………………………….
2……………………………………….
3……………………………………….
4……………………………………….
1……………………………………….
2……………………………………….
3……………………………………….
4……………………………………….
แบบฟอร์มการแบ่งกลุ่ม Loss ในโรงงาน
6 Big Losses หรือความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ 6 ประการ ที่พบเห็นอยู่เป็นประจำเกือบทุกที่ แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกที่จะมีเพียงแค่ Loss 6 ประการ ดังกล่าวนี้เท่านั้น อาจจะมีมากกว่าหรือน้อยกว่าขึ้นอยู่กับสถานประกอบการ ดังนั้น 6 Big Losses จึงไม่ใช่สูตรสำเร็จในการหาความสูญเสีย หากแต่เป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ต่อไป วิธีที่ดีที่สุดต้องหา Loss ของเราเองแล้วแบ่งออกเป็นกลุ่ม
6 Big Losses
Shutdown Losses
Capacity Losses
Yield Losses
1. เครื่องจักรเสีย
2. การเปลี่ยนรุ่น
3. การหยุดเล็กน้อย
4. การสูญเสียความเร็ว
5. การเริ่มเดินเครื่อง
6. งานเสียและแก้ไขงาน
6 Big Losses
ถ้าไม่สามารถหา Loss ได้ ก็คงไม่สามารถหาได้ว่าจะทำการปรับปรุงที่ตรงไหน แต่การหา Loss ได้ แต่ไม่จำแนกกลุ่มก็ทำการปรับปรุงได้ไม่ถูกจุด ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือต้องหา Loss ให้ได้ทั้งหมด และจัดกลุ่มให้ได้ ทั้งนี้ต้องไม่ยึดติดกับ 6 Big Losses
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.