Definition
Goals
Benefits
TPM 8 Pillars
TPM step-by-step
Kick-off and Model Area Phase
TPM Step-by-Step
TPM Assessment
Key Pillars and Special Topics
Maintenance Management
Public Training
In-house Training
TPM Training Package
TPM Thai articles
TPM Worldwide articles
Productivity
Others
IE Technique
Productivity Improvement
5s
Just-in-Time (JIT)
PMII Web Application
TQM
TPM Tag
Form & Checksheet
Software Development
Condition-based Maintenance Tools
Training Materials
Contact Us
OEE WORKSHOP AND ASSESSMENT
Links
Promotion and Practice Phase
Stabilization and Appling to Award
Introduction to TPM
Root Cause Analysis & Corrective Action
LCC analysis for decision making
Strategic Cost Reduction
Cost reduction technique
TPM for Manager
Practical TPM
Strategic TPM Leadership for Pillar Manager
CIMCO-CMMS
Overall Equipment Effectiveness (OEE)
TPM Train the Trainer
TPM Training & Follow-up
TPM and Corporate KPIs
Effective TPM Coordinator
Modern Maintenance Management: MMM
Maintenance Budget Planning and Control
How to Audit TPM Effectively
Strategic Production Management
Production Efficiency Improvement
Manufacturing Strategy Map & KPIs
Customized In-house Training and Workshop
EFFECTIVE TPM FACILITATOR (COORDINATOR) (NEW)
HOW TO AUDIT AM EFFECTIVELY
MAINTENANCE MANAGEMENT & SPAREPART CONTROL
OEE Workshop and Assessment
TPM FOR MANAGER (NEW)
TPM FOR SUPERVISOR
MAINTENANCE COST BUDGET PLANNING AND CONTROL
Modern Maintenance Practice
Strategic Plant Reliability & Maintenance Manageme
TPM: The Success Factors
HOW TO START TPM EFFECTIVELY
Strategic Cost Reduction
INTENSIVE 4-DAYS TPM TRAINING & FOLLOW-UP
PRACTICAL TPM
Individual Improvement (Kobestsu Kaizen)
Autonomous Maintenance (Jishu-Hozen)
Planned Maintenance
TPM-KM (TPM Knowledge Management)
Initial-Phase Management
Quality Maintenance
Office TPM
AUTONOMOUS MAINTENANCE FOR THE OEE IMPROVEMENT
INTRODUCTION TO TPM AND AUTONOMOUS MAINTENANCE
KOBETSU KAIZEN AND JISHU HOZEN
TPM PILLARS ASSESSMSNT
AUTONOMOUS MAINTENANCE
OVERALL INSPECTION
QUALITY MAINTENANCE
LCC & MP Design
Practical 5S
Effective 5Ss Facilitator
How to Audit 5Ss Fairly and Effectively
Visual Control and Poka - Yoke
Superior Working Team
Effective Meeting and Communication
Effective Problem Solving for Manager
Basic Supervisory Skill
Advanced Supervisory Skill
Multi-skill Supervisor
Traditional and New 7 QC Tools
P-M and Why-why Analysis: An Advanced Step to Zero
DOE: Design of Experiment
MSA: Measurement System Analysis
SPC: Statistical Process Control
PM: Preventive Maintenance
PREDICTIVE MAINTENANCE
DESIGN OF EXPERIMENT: THE DOE TRAINING & FOLLOW-UP
ANOVA by MINITAB & SPSS
CROSS FUNCTIONAL ALIGNMENT
การแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพในกระบวนการผลิตด้วยกา
EFFECTIVE 5S IMPLEMENTATION
EFFECTIVE PROBLEM SOLVING
P-M ANALYSIS
POKA-YOKE
TPM VISUAL CONTROL
TPM VISUAL CONTROL
INITIAL PHASE MANAGEMENT
Machine Life Cycle Costing (LCC)
Root Cause Analysis & Corrective Action
FAILURE MODE & EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
Lean Management
TQM in Action
Easy Six Sigma
Productivity Tools and Technique
Total Energy Conservation
Bottom-up Activity
JIT
Project Management
EFFECTIVE MANAGERIAL SKILL
PRACTICAL IE FOR MANAGER
EFFECTIVE COST REDUCTION TECHNIQUES
6S AUDIT (5S EFFECTIVELY)
TPM Consulting Package
In-house Training / TPM 8 Pillars
TPM Tools and Technique
TPM Related
What is TPM
/ Benefits
ความสำเร็จในการปฏิบัติการ
ดัชนีวัดความสำเร็จในการปฏิบัติระดับโรงงาน ระดับฝ่าย ระดับแผนก และระดับกลุ่ม AM ตามลำดับ
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการปฏิบัติระดับโรงงาน
1. ต้นทุนการผลิต
2. ต้นทุนทางด้านแรงงาน
3. การเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบ
4. อัตราการเพิ่มผลผลิตของแรงงาน
5. งานระหว่างกระบวนการ
6. จำนวนลูกค้าร้องเรียน
7. จำนวนครั้งที่เกิดอุบัติเหตุ
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการปฏิบัติระดับฝ่าย
1. ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
(OEE)
2. อัตราการเพิ่มผลผลิตของเวลา
3. อัตราการเพิ่มผลผลิตของแรงงาน
4. ต้นทุนการผลิต
5. ต้นทุนเครื่องมือตัด
6. ค่าใช้จ่ายทางด้านวัสดุ
7. ค่าทำงานล่วงเวลา
8. การประหยัดแรงงาน
9. จำนวนลูกค้าร้องเรียน
10. ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา
11. ค่าใช้จ่ายในจิกซ์และฟิกเจอร์
12. ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
13. การเกิดอุบัติเหตุ
14. ผลจากการปรับปรุงเฉพาะเรื่อง
15. อัตราการใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบ
16. จำนวนข้อเสนอแนะ
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการปฏิบัติระดับแผนก
1. จำนวนการหยุดของเครื่องจักร
2. การลดเวลาตั้งเครื่องจักร
3. จำนวนเครื่องจักรเสีย
4. จำนวนการเปลี่ยนเครื่องมือตัด
5. ช่วงเวลาเริ่มเดินเครื่อง (Start-up)
6. จำนวนครั้งการหยุดเล็กน้อย
7. จำนวนครั้งการเสียความเร็ว
8. จำนวนของเสีย
9. การใช้เวลาในการผลิตลดลง
10. การเพิ่มความเร็วในการผลิต
11. อัตราส่วนของดี
12. การประหยัดแรงงาน
13. การลดจำนวนชั่วโมงแรงงาน
14. จำนวนข้อเสนอแนะ
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการปฏิบัติระดับกลุ่ม AM
1. การลดเวลาทำความสะอาด
2. การลดเวลาตรวจสอบและหล่อลื่น
3. การลดปริมาณการเติมน้ำมัน
4. จำนวนจุดที่ปรับปรุง
5. จำนวนจุดผิดปกติที่พบ
6. จำนวนครั้งที่หาสาเหตุพบ
7. การลดจำนวนเครื่องหยุดเล็กน้อย
8. การลดเวลาตั้งเครื่อง
9. การลดเวลาในการเปลี่ยนเครื่องมือ
สมรรถนะขององค์การ
หน่วยวัดผลทางด้านการผลิต คุณภาพ ต้นทุน การส่ง-มอบ รวมถึงความปลอดภัยและขวัญกำลังใจของพนักงานในองค์การ ตามลำดับ
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะองค์กรด้านการผลิต
หน่วยวัดผล
1. การเพิ่มผลผลิต
2.
OEE
3. อัตราการเดินเครื่อง
4. ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง
5. อัตราคุณภาพ
6. จำนวนครั้งที่เครื่องเสีย
7. MTBF
8. MTTR
9. เวลาการตั้งเครื่อง
10. จำนวนครั้งที่เครื่องหยุดเล็กน้อย
11. ประสิทธิภาพการลงทุนในเครื่องจักร
12. อัตราการบำรุงรักษาตามแผน
13. อัตราการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (PM)
14. อัตราการใช้วัตถุดิบ
วิธีการวัดผล
ผลิตผล / ปัจจัยในการผลิต
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)
จากการบันทึก
ช่วงเวลาที่เครื่องจักรใช้งานได้อย่างไม่มีการขัดข้องโดยเฉลี่ย
ช่วงเวลาที่เครื่องจักรต้องหยุดเมื่อขัดข้องโดยเฉลี่ย
จากการบันทึก
จากการบันทึก
(มูลค่าการผลิต / มูลค่าเครื่องจักร) X 100
(จำนวนครั้งที่บำรุงรักษา / จำนวนครั้งที่ต้องบำรุงรักษา) X 100
[(PM + CM) / (PM +CM + BM)] X 100 ในรูปของค่าใช้จ่าย
(วัตถุดิบทั้งหมดที่เข้าสู่กระบวนการ / วัตถุดิบที่ออกเป็นผลิตภัณฑ์) X 100
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านคุณภาพ
หน่วยวัดผล
1. จำนวนของเสีย
2. จำนวนลูกค้าร้องเรียน
3. จำนวนสินค้าส่งคืน
4. อัตราคุณภาพ
วิธีการวัดผล
จากการบันทึก
จากการบันทึก
จากการบันทึก
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านต้นทุน
หน่วยวัดผล
1. ต้นทุนการผลิต
2. ต้นทุนการบำรุงรักษา
3. อัตราการหมุนเวียนของเงิน
4. มูลค่าเครื่องจักรที่เลิกใช้
5. อัตราค่าเสื่อมราคา
วิธีการวัดผล
จากการบันทึก
จากการบันทึก
ยอดขายสุทธิ / สินทรัพย์ถาวร
จากการบันทึก
(ต้นทุนค่าเสื่อม / สินทรัพย์ถาวร) X 100
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านการส่งมอบ
หน่วยวัดผล
1. จำนวนครั้งที่ส่งมอบล่าช้า
2. จำนวนวันที่ส่งมอบล่าช้า
3. จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบล่าช้า
วิธีการวัดผล
จากการบันทึก
จากการบันทึก
จากการบันทึก
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านความปลอดภัย
หน่วยวัดผล
1. อัตราการเกิดอุบัติเหต
2. เวลาทำงานปลอดอุบัติเหตุ
วิธีการวัดผล
(เวลาหยุดงานเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุ / ชั่วโมงทำงาน)
(จำนวนวันทำงานที่เกิดอุบัติเหตุ / จำนวนวันทำงานทั้งหมด)
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านขวัญและกำลังใจ
หน่วยวัดผล
1. จำนวนครั้งของการทำกิจกรรมกลุ่ม
2. เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรมกลุ่ม
3. จำนวนข้อเสนอแนะ
4. จำนวนชั่วโมงที่ฝึกอบรม
5. อัตราการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
วิธีการวัดผล
จากการบันทึก
จากการบันทึก
จากการบันทึก
จากการบันทึก
(จำนวนครั้งที่แก้ไขโดยผู้ใช้เครื่อง / จำนวน
เครื่องเสียทั้งหมด) X 100
สิ่งเดียวที่จะบอกเราได้ว่า กิจกรรม TPM เป็นอย่างไร ถูกทางหรือไม่ ได้ผลมากน้อยเพียงใด คือ การวัดผลเป็นระยะๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบความคืบหน้า เพื่อการหยุดทบทวน หรือเพื่อการปรับแผนการดำเนินการต่อไป
Reference
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง.
กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
ธานี อ่วมอ้อ.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2546.
Developing Program: Implementing Total Productive Maintenance. Tokyo: Japan Insyitute, 1996.